สมองของเราเป็นอวัยวะที่ทำงานตลอดเวลา
แม้ตอนนอนหลับ ซึ่งการทำงานของสมอง
จะมีทั้งการส่งกระแสประสาท และสารเคมี
ในสมองต่างๆ ซึ่งมีผลพลอยได้ก็คือ
ทำให้เกิดอนุมูลอิสระ ที่จะทำลาย
เซลสมองทำให้ประสิทธิภาพการทำงาน
ของสมองลดลง ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคทางสมอง
ทั้งอัลไซเมอร์ สมองเสื่อม และพาร์คินสัน
มีอาหารหลายอย่างที่ช่วยลดการถูกทำลายของสมองได้ค่ะ
1. ไขมันชนิดโอเมก้า3
มีมากในปลาแซลมอน ปลาซาร์ดีน
(ก็ปลากระป๋องนั่นแหละ) ปลาทูน่า
ปลากระพง เมล็ดแฟล็กซ์ ถั่ววอลนัต
น้ำมันมะกอก ลดการอักเสบในเซลสมอง
2. วิตามินอี
มีมากในเมล็ดอัลมอนด์ เมล็ดทานตะวัน
เฮเซลนัต อะโวคาโด น้ำมันรำข้าว
ช่วยต้านอนุมูลอิสระ
3.วิตามินซี
มีมากในส้ม มะนาว พริกหวาน
ฝรั่ง มะละกอ ช่วยต้านอนุมูลอิสระ
4. สารฟลาโวนอยด์
จากผลไม้ตระกูลเบอร์รี่
ชาเขียว ทับทิม แอปเปิล
กระเทียม ช่วยต้านอนุมูลอิสระ
5. ขมิ้น ผงกะหรี่
มีสารเคอร์คูมินที่ข่วยป้องกัน
โปรตีนอะไมลอยด์จับตัวเป็นก้อนในสมอง
6. โฟเลต
จากผักใบเขียวเข้ม
เช่น ผักคะน้า ผักโขม
วอเตอร์เครส
ช่วยควบคุมระดับโฮโมซีสเทอีน
ที่ทำให้สมองทำงานแย่ลง
7. โคลีน
มีมากในไข่แดง
ทำให้สารสื่อประสาททำงานได้ดีขึ้น
ทานอาหารกลุ่มนี้กันให้ได้ทุกวัน
วันละอย่างสองอย่างก็ยังดี
เพื่อดูแลสุขภาพสมองของเรา
ต้องสะสมไว้ตั้งแต่ตอนนี้ค่ะ
จะได้ไม่เป็นโรคเกี่ยวกับสมองตอนแก่
แหล่งที่มา : Line วัยทองสตรองสุดๆ
วันเสาร์ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2561
วันศุกร์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2561
โรคหัวใจขาดเลือด...ภัยเงียบ ใกล้ตัวเรา
ผู้ชายเสี่ยงมากกว่าผู้หญิง
สาเหตุ
- ควบคุมไม่ได้
+ เพศ
+ อายุ
+ พันธุกรรม
- ควบคุมได้
+ ความดันเลือด
+ เบาหวาน
+ ไขมัน
+ น้ำหนัก
ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคหัวใจขาดเลือด
- มีไขมันไม่ดี (LDL) อยู่ในหลอดเลือด
+ สะสมอยู่ตามผนังของหลอดเลือด
+ ทำให้หลอดเลือดแข็งตัว
+ เกิดภาวะหลอดเลือดตีบและอุดตัน
+ เกิดโรคหัวใจขาดเลือด
- สูบบุหรี่
- ความเครียด
- ไม่ออกกำลังกาย
- ดื่มแอลกอฮอล์
"หมั่นคอยดูแล และรักษาหัวใจ
เก็บเอาไว้จนวันที่ฉันเคียงคู่เธอ"
สุขภาพดีไปด้วยกัน
เพียงแชร์สาระน่ารู้
จากเราให้คนที่คุณรัก
ที่มา : ผศ.นพ.ภาวิทย์ เพียรวิจิตร ภาควิชาอายุรศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
แหล่งที่มา : Line Ramathibodi
สาเหตุ
- ควบคุมไม่ได้
+ เพศ
+ อายุ
+ พันธุกรรม
- ควบคุมได้
+ ความดันเลือด
+ เบาหวาน
+ ไขมัน
+ น้ำหนัก
ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคหัวใจขาดเลือด
- มีไขมันไม่ดี (LDL) อยู่ในหลอดเลือด
+ สะสมอยู่ตามผนังของหลอดเลือด
+ ทำให้หลอดเลือดแข็งตัว
+ เกิดภาวะหลอดเลือดตีบและอุดตัน
+ เกิดโรคหัวใจขาดเลือด
- สูบบุหรี่
- ความเครียด
- ไม่ออกกำลังกาย
- ดื่มแอลกอฮอล์
"หมั่นคอยดูแล และรักษาหัวใจ
เก็บเอาไว้จนวันที่ฉันเคียงคู่เธอ"
สุขภาพดีไปด้วยกัน
เพียงแชร์สาระน่ารู้
จากเราให้คนที่คุณรัก
ที่มา : ผศ.นพ.ภาวิทย์ เพียรวิจิตร ภาควิชาอายุรศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
แหล่งที่มา : Line Ramathibodi
บันได 3 ขั้นของคำว่า "พอ"
บันได 3 ขั้นของคำว่า "พอ"
ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ขั้นที่ 1 อยู่รอด (Survival)
ผลิตเพื่อตนเองและครอบครัวเป็นอันดับแรก
พึ่งพาเงินให้น้อยที่สุด
ขั้นที่ 2 พอเพียง (Sufficiency)
รวมกลุ่มสมาชิกในชุมชนสร้างพลัง
เกิดการผลิตมุ่งสู่เศรษฐกิจชุมชน
ขั้นที่ 3 ยั่งยืน (Sustainability)
ดำเนินธุรกิชุมชนขับเคลื่อนโดยพลังสร้างสรรค์
เครือข่ายสหกรณ์สร้างอำนาจการต่อรอง
และชุมชนเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต
ที่มา www.tsdf.or.th
แหล่งทีมา : ข้อมูลจาก Line เพื่อน
ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ขั้นที่ 1 อยู่รอด (Survival)
ผลิตเพื่อตนเองและครอบครัวเป็นอันดับแรก
พึ่งพาเงินให้น้อยที่สุด
ขั้นที่ 2 พอเพียง (Sufficiency)
รวมกลุ่มสมาชิกในชุมชนสร้างพลัง
เกิดการผลิตมุ่งสู่เศรษฐกิจชุมชน
ขั้นที่ 3 ยั่งยืน (Sustainability)
ดำเนินธุรกิชุมชนขับเคลื่อนโดยพลังสร้างสรรค์
เครือข่ายสหกรณ์สร้างอำนาจการต่อรอง
และชุมชนเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต
ที่มา www.tsdf.or.th
แหล่งทีมา : ข้อมูลจาก Line เพื่อน
วันพฤหัสบดีที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2561
4 วิธีลดน้ำตาลในเลือดหลังอาหารในผู้ป่วยเบาหวาน
01 งดของหวาน
งดขนม อาหาร เครื่องดื่มรสหวานจัด
รสชาติหวานพอ คือ
รสชาติหวานจากการเคี้ยวข้าว
รสชาติหวานพอเพียง
เป็นรสหวานตามธรรมชาติ
02 ทานผักใบเขียว
กินผักใบเขียวอย่างน้อย 1 ฝ่ามือ
ในทุกมื้ออาหาร
ผักใบเขียวจะช่วยลด
การดูดซึมของน้ำตาล
03 เคี้ยวจนเพลิน
ใน 1 คำอาหาร
ให้เคี้ยวอย่างน้อย 15 ครั้งก่อนกลืน
04 เดินหลังอาหาร
หลังกินอาหาร 15 นาที
ควรเคลื่อนไหวใช้พลังงาน
ด้วยการเดิน 15 นาที
เมื่อเราใช้กล้ามเนื้อ
พลังงาน (น้ำตาล) จะถูกนำไปใช้
ระดับน้ำตาลมนเลือดหลังอาหาร
ก็จะไม่สูงเกินไป (กล้ามเนือขาใหญ่กว่าแขน)
กล้ามเนื้อใหญ่กว่าใช้พลังงาน
มากกว่า จึงแนะนำให้เดิน)
ที่มา : ผศ.นพ.สมเกียรติ แสงวัฒนาโรจน์
แหล่งที่มา : Line chulahospital
งดขนม อาหาร เครื่องดื่มรสหวานจัด
รสชาติหวานพอ คือ
รสชาติหวานจากการเคี้ยวข้าว
รสชาติหวานพอเพียง
เป็นรสหวานตามธรรมชาติ
02 ทานผักใบเขียว
กินผักใบเขียวอย่างน้อย 1 ฝ่ามือ
ในทุกมื้ออาหาร
ผักใบเขียวจะช่วยลด
การดูดซึมของน้ำตาล
03 เคี้ยวจนเพลิน
ใน 1 คำอาหาร
ให้เคี้ยวอย่างน้อย 15 ครั้งก่อนกลืน
04 เดินหลังอาหาร
หลังกินอาหาร 15 นาที
ควรเคลื่อนไหวใช้พลังงาน
ด้วยการเดิน 15 นาที
เมื่อเราใช้กล้ามเนื้อ
พลังงาน (น้ำตาล) จะถูกนำไปใช้
ระดับน้ำตาลมนเลือดหลังอาหาร
ก็จะไม่สูงเกินไป (กล้ามเนือขาใหญ่กว่าแขน)
กล้ามเนื้อใหญ่กว่าใช้พลังงาน
มากกว่า จึงแนะนำให้เดิน)
ที่มา : ผศ.นพ.สมเกียรติ แสงวัฒนาโรจน์
แหล่งที่มา : Line chulahospital
วันพุธที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2561
แคปไซซิน (Capsaicin)
คือสารสำคัญที่สกัด
ได้จากบริเวณเยื่อ
แกนกลางของพริก
บรรเทาอาการปวดได้
แคปไซซินนิยมนำมาทำเป็น
- เจล
- โลชั่น
- พลาสเตอร์
การออกฤทธิ์
- กระตุ้นการปวด
- รู้สึกร้อน
- ลดการปวด
- ปวดลดลง (เมื่อทายาต่อเนื่อง)
- ร้อนลดลง
ข้อแนะนำ
- หลีกเลี่ยงรอบดวงตา
บริเวณบอบบางและรอยแผล
- หากรู้สึกระคายเคืองผิว
หรือแสบร้อนให้ล้างด้วยน้ำสบู่
- ห้ามใช้ในเด็กอายุต่ำกว่า 12 ปี
และระมัดระวังการใช้ในผู้สูงอายุ
เพราะมีผิวบอบบาง
- ไม่แนะนำให้ใช้
ในผู้ที่ปวดเฉียบพลัน
ที่มา : ภญ.นันทิยา ฤทธิ์เดช ฝ่ายเภสัชกรรมศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
แหล่งที่มา : Line Ramathibodi
ได้จากบริเวณเยื่อ
แกนกลางของพริก
บรรเทาอาการปวดได้
แคปไซซินนิยมนำมาทำเป็น
- เจล
- โลชั่น
- พลาสเตอร์
การออกฤทธิ์
- กระตุ้นการปวด
- รู้สึกร้อน
- ลดการปวด
- ปวดลดลง (เมื่อทายาต่อเนื่อง)
- ร้อนลดลง
ข้อแนะนำ
- หลีกเลี่ยงรอบดวงตา
บริเวณบอบบางและรอยแผล
- หากรู้สึกระคายเคืองผิว
หรือแสบร้อนให้ล้างด้วยน้ำสบู่
- ห้ามใช้ในเด็กอายุต่ำกว่า 12 ปี
และระมัดระวังการใช้ในผู้สูงอายุ
เพราะมีผิวบอบบาง
- ไม่แนะนำให้ใช้
ในผู้ที่ปวดเฉียบพลัน
ที่มา : ภญ.นันทิยา ฤทธิ์เดช ฝ่ายเภสัชกรรมศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
แหล่งที่มา : Line Ramathibodi
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเนื้อสัตว์กับมะเร็ง
เนื้อสัตว์เร่งมะเร็งจริงหรือไม่?
เนื้อสัตว์ไม่ได้เร่งมะเร็ง
แต่ควรเลือกทานประเภทเนื้อขาว
เช่น เนื้อไก่ ปลา กุ้ง ปลาหมึก
และไข่
เนื้อแดง คือ
เนื้อจากสัตว์ใหญ่ เช่น
หมู วัว แพะ แกะ
ทานมากอาจเสี่ยง
"มะเร็งลำไส้ใหญ่"
แนะนำให้ทานไม่เกิน
500 กรัมต่อสัปดาห์
เนื้อสัตว์แปรรูป เช่น
ไส้กรอก แฮม เนื้อสัตว์รมควัน
ลูกชิ้น เพิ่มความเสี่ยง
"มะเร็งลำไส้ใหญ่"
เนื้อประเภทไหน
"เสี่ยง" มากกว่ากัน
1) เนื้อสัตว์แปรรูป
2) เนื้อสัตว์ปิ้ง ย่าง
3) เนื้อแดง
ที่มา : รศ.นพ.ชวลิต เลิศบุษยานุกูล
แหล่งที่มา : Line chulahospital
เนื้อสัตว์ไม่ได้เร่งมะเร็ง
แต่ควรเลือกทานประเภทเนื้อขาว
เช่น เนื้อไก่ ปลา กุ้ง ปลาหมึก
และไข่
เนื้อแดง คือ
เนื้อจากสัตว์ใหญ่ เช่น
หมู วัว แพะ แกะ
ทานมากอาจเสี่ยง
"มะเร็งลำไส้ใหญ่"
แนะนำให้ทานไม่เกิน
500 กรัมต่อสัปดาห์
เนื้อสัตว์แปรรูป เช่น
ไส้กรอก แฮม เนื้อสัตว์รมควัน
ลูกชิ้น เพิ่มความเสี่ยง
"มะเร็งลำไส้ใหญ่"
เนื้อประเภทไหน
"เสี่ยง" มากกว่ากัน
1) เนื้อสัตว์แปรรูป
2) เนื้อสัตว์ปิ้ง ย่าง
3) เนื้อแดง
ที่มา : รศ.นพ.ชวลิต เลิศบุษยานุกูล
แหล่งที่มา : Line chulahospital
อาการเตือนโรคหลอดเลือดสมอง
อย่ามองข้าม 6 อาการ
เตือนโรคหลอดเลือดสมอง
ที่คุณอาจไม่รู้ตัว !
..มารู้ก่อนเป็น เพื่อป้องกัน ลดเสี่ยงชีวิต
หลายคนสงสัย
โรคหลอดเลือดในสมองคืออะไร?
โรคหลอดเลือดในสมอง (Stroke)
คือ ภาวะที่สมองขาดเลือดไปเลี้ยง
เนื่องจากหลอดเลือดตีบ หลอดเลือดอุดตัน
หรือหลอดเลือดแตก ส่งผลให้เนื้อเยื่อ
ในสมองถูกทำลาย การทำงานของสมอง
หยุดชะงัก ซึ่งถือเป็นอาการร้ายแรงและ
อาจอันตรายถึงแก่ชีวิต หรือหากไม่ถึงชีวิต
ก็อาจทำให้กลายเป็นโรคอัมพฤกษ์- อัมพาตได้
ซึ่งกลุ่มคนที่เสี่ยงมีโอกาสเกิด
โรคหลอดเลือดสมอง
ได้แก่ ทำงานหนักหามรุ่งหามค่ำ
จนไม่มีเวลาออกกำลังกาย
อายุ 45 ขึ้นไป เป็นโรค
ความดันโลหิตสูง เบาหวาน
ไขมันในหลอดเลือด โรคหัวใจ
อาทิ หัวใจเต้นผิดจังหวะ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
และ สูบบุหรี่
ฉะนั้นแล้วมาเช็ค 6 อาการ
สัญญาณเตือนว่าคุณเสี่ยง
เป็นโรคหลอดเลือดสมอง
เพื่อป้องกันและลดความเสี่ยง
เสียชีวิตกัน
1.ปวดศีรษะอย่างรุนแรง โดยไม่ทราบสาเหตุ
2.มีอาการสับสน มีภาวะพูดลำบากหรือไม่เข้าใจ
3.มีภาวะกลืนลำบาก
4.เดินเซ เวียนศีรษะ ทรงตัวลำบาก ใช้แขนขาได้ไม่ปกติ
5.รู้สึกชาหรืออ่อนแรง ใบหน้า แขนขาครึ่งซีก
6.ตาเห็นภาพซ้อน มองเห็นครึ่งซีก หรือตามัวข้างเดียว
ทั้งนี้ทั้งนั้นการป้องที่ดีที่สุดคือ
การดูแลใส่ใจสุขภาพตัวเอง
หมั่นตรวจเช็คร่างกาย หากพบว่า
มีอาการผิดปกติเหล่านี้เกิดขึ้น
อย่านิ่งนอนใจ ควรรีบพบแพทย์
เพื่อรักษาทันที เนื่องจากอาการของโรคเส้นเลือดในสมองถือว่ามีความรุนแรงมาก และต้องได้รับการรักษาที่ทันท่วงทีเพราะหากปล่อยไว้อาจมีอันตรายถึงชีวิตได้
แหล่งที่มา : จาก SOOK By สสส.
เตือนโรคหลอดเลือดสมอง
ที่คุณอาจไม่รู้ตัว !
..มารู้ก่อนเป็น เพื่อป้องกัน ลดเสี่ยงชีวิต
หลายคนสงสัย
โรคหลอดเลือดในสมองคืออะไร?
โรคหลอดเลือดในสมอง (Stroke)
คือ ภาวะที่สมองขาดเลือดไปเลี้ยง
เนื่องจากหลอดเลือดตีบ หลอดเลือดอุดตัน
หรือหลอดเลือดแตก ส่งผลให้เนื้อเยื่อ
ในสมองถูกทำลาย การทำงานของสมอง
หยุดชะงัก ซึ่งถือเป็นอาการร้ายแรงและ
อาจอันตรายถึงแก่ชีวิต หรือหากไม่ถึงชีวิต
ก็อาจทำให้กลายเป็นโรคอัมพฤกษ์- อัมพาตได้
ซึ่งกลุ่มคนที่เสี่ยงมีโอกาสเกิด
โรคหลอดเลือดสมอง
ได้แก่ ทำงานหนักหามรุ่งหามค่ำ
จนไม่มีเวลาออกกำลังกาย
อายุ 45 ขึ้นไป เป็นโรค
ความดันโลหิตสูง เบาหวาน
ไขมันในหลอดเลือด โรคหัวใจ
อาทิ หัวใจเต้นผิดจังหวะ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
และ สูบบุหรี่
ฉะนั้นแล้วมาเช็ค 6 อาการ
สัญญาณเตือนว่าคุณเสี่ยง
เป็นโรคหลอดเลือดสมอง
เพื่อป้องกันและลดความเสี่ยง
เสียชีวิตกัน
1.ปวดศีรษะอย่างรุนแรง โดยไม่ทราบสาเหตุ
2.มีอาการสับสน มีภาวะพูดลำบากหรือไม่เข้าใจ
3.มีภาวะกลืนลำบาก
4.เดินเซ เวียนศีรษะ ทรงตัวลำบาก ใช้แขนขาได้ไม่ปกติ
5.รู้สึกชาหรืออ่อนแรง ใบหน้า แขนขาครึ่งซีก
6.ตาเห็นภาพซ้อน มองเห็นครึ่งซีก หรือตามัวข้างเดียว
ทั้งนี้ทั้งนั้นการป้องที่ดีที่สุดคือ
การดูแลใส่ใจสุขภาพตัวเอง
หมั่นตรวจเช็คร่างกาย หากพบว่า
มีอาการผิดปกติเหล่านี้เกิดขึ้น
อย่านิ่งนอนใจ ควรรีบพบแพทย์
เพื่อรักษาทันที เนื่องจากอาการของโรคเส้นเลือดในสมองถือว่ามีความรุนแรงมาก และต้องได้รับการรักษาที่ทันท่วงทีเพราะหากปล่อยไว้อาจมีอันตรายถึงชีวิตได้
แหล่งที่มา : จาก SOOK By สสส.
ออกกำลังกาย = กระตุ้นพลังสมอง ช่วยให้สุขภาพจิตดี
รู้กันหรือไม่ “ออกกำลังกาย”
ช่วยกระตุ้นสมอง แถมสุขภาพจิตดีด้วยนะ??
ในสังคมทุกวันนี้ที่เต็มไปด้วยความเร่งรีบ
หากจะหาเวลาออกกำลังกายสักวันนั้น
อาจเป็นเรื่องไม่ง่ายนัก แต่ถ้าหากว่า
มีโอกาสแล้ว ก็อยากให้หาเวลามา
ออกกำลังกายกันนะคะ เพราะประโยชน์
ของการออกกำลังกาย ไม่ได้แค่ช่วย
ในเรื่องสุขภาพของเราให้แข็งแรงเท่านั้น
แต่ยังช่วยบำรุงสุขภาพสมองควบคู่กันไปด้วย
ซึ่งในทางการแพทย์ระบุว่า
การออกกำลังกายช่วยลับสมอง
ให้เฉียบแหลม โดยเพิ่มปริมาณเลือด
ไปเลี้ยงสมอง ทำให้มีออกซิเจนและ
น้ำตาลไปป้อนเซลล์สมองให้ทำงานได้ดีขึ้น
และยังเพิ่มการหลั่งสารโปรตีน
ซึ่งช่วยให้เกิดการสร้างเซลล์สมองใหม่
บำรุงเซลล์สมองให้แข็งแรง
นอกจากนี้ยังมีหลักฐานงานวิจัยที่ยืนยันว่า
การออกกำลังกายยังช่วยส่งเสริมการพัฒนา
โครงการสร้างสมองและการหลั่งสารเคมี
หลายชนิด ช่วยให้มีสุขภาพจิตดี ดังนี้
1. ลดภาวะซึมเศร้า
สามารถใช้บำบัดโรคซึมเศร้าแทนการใช้ยาด้านซึมเศร้าได้
2. รักษาภาวะสมองเสื่อม
3. ป้องกันโรคอัลไซเมอร์
การออกกำลังแบบแอโรบิก
เช่น วิ่งเหยาะ เดินเร็ว ปั่นจักรยาน
ว่ายน้ำ ฯลฯ เพียงสัปดาห์ละ 2 ครั้ง
สามารถป้องกันโรคนี้ได้ถึงร้อยละ 60
4. ช่วยให้สมาธิดี
5. ส่งเสริมความจำระยะยาว
6. ช่วยการคิดอย่างมีเหตุมีผล
7. ส่งเสริมเชาวน์ปัญญาในการแก้ปัญหา
รู้อย่างนี้แล้ว…
ลองหาเวลาว่างๆ
อย่างน้อยสัปดาห์ละหนึ่งวัน
ไปออกกำลังกายง่ายๆ
เช่น การเดินเป็นการออกกำลังที่ง่าย
ราคาถูก และปลอดภัย
สามารถสอดแทรกในวิถีชีวิตประจำวัน
เช่น เดินไปทำงาน ไปโรงเรียน ไปวัด
เดินขึ้นบันได เพียงเท่านี้ก็นับเป็นการออกกำลังกายแล้ว
แหล่งที่มา : จาก SOOK By สสส.
ช่วยกระตุ้นสมอง แถมสุขภาพจิตดีด้วยนะ??
ในสังคมทุกวันนี้ที่เต็มไปด้วยความเร่งรีบ
หากจะหาเวลาออกกำลังกายสักวันนั้น
อาจเป็นเรื่องไม่ง่ายนัก แต่ถ้าหากว่า
มีโอกาสแล้ว ก็อยากให้หาเวลามา
ออกกำลังกายกันนะคะ เพราะประโยชน์
ของการออกกำลังกาย ไม่ได้แค่ช่วย
ในเรื่องสุขภาพของเราให้แข็งแรงเท่านั้น
แต่ยังช่วยบำรุงสุขภาพสมองควบคู่กันไปด้วย
ซึ่งในทางการแพทย์ระบุว่า
การออกกำลังกายช่วยลับสมอง
ให้เฉียบแหลม โดยเพิ่มปริมาณเลือด
ไปเลี้ยงสมอง ทำให้มีออกซิเจนและ
น้ำตาลไปป้อนเซลล์สมองให้ทำงานได้ดีขึ้น
และยังเพิ่มการหลั่งสารโปรตีน
ซึ่งช่วยให้เกิดการสร้างเซลล์สมองใหม่
บำรุงเซลล์สมองให้แข็งแรง
นอกจากนี้ยังมีหลักฐานงานวิจัยที่ยืนยันว่า
การออกกำลังกายยังช่วยส่งเสริมการพัฒนา
โครงการสร้างสมองและการหลั่งสารเคมี
หลายชนิด ช่วยให้มีสุขภาพจิตดี ดังนี้
1. ลดภาวะซึมเศร้า
สามารถใช้บำบัดโรคซึมเศร้าแทนการใช้ยาด้านซึมเศร้าได้
2. รักษาภาวะสมองเสื่อม
3. ป้องกันโรคอัลไซเมอร์
การออกกำลังแบบแอโรบิก
เช่น วิ่งเหยาะ เดินเร็ว ปั่นจักรยาน
ว่ายน้ำ ฯลฯ เพียงสัปดาห์ละ 2 ครั้ง
สามารถป้องกันโรคนี้ได้ถึงร้อยละ 60
4. ช่วยให้สมาธิดี
5. ส่งเสริมความจำระยะยาว
6. ช่วยการคิดอย่างมีเหตุมีผล
7. ส่งเสริมเชาวน์ปัญญาในการแก้ปัญหา
รู้อย่างนี้แล้ว…
ลองหาเวลาว่างๆ
อย่างน้อยสัปดาห์ละหนึ่งวัน
ไปออกกำลังกายง่ายๆ
เช่น การเดินเป็นการออกกำลังที่ง่าย
ราคาถูก และปลอดภัย
สามารถสอดแทรกในวิถีชีวิตประจำวัน
เช่น เดินไปทำงาน ไปโรงเรียน ไปวัด
เดินขึ้นบันได เพียงเท่านี้ก็นับเป็นการออกกำลังกายแล้ว
วันอังคารที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2561
ทำความรู้จัก สารโบทูลินัม กันสักนิด ก่อนคิดจะทำ
สารโบทูลินัม
หรือที่มักเรียกกันว่า "โบท็อกซ์"
เป็นโปรตีนชนิดหนึ่ง
ที่สร้างจากแบคทีเรีย
ชื่อ คลอสตริเดียม โบทูลินัม
(Clostridium botulinum)
ออกฤทธิ์ยับยั้งการนำกระแสประสาท
ที่ส่งมายังกล้ามเนื้อบริเวณนั้น
กล้ามเนื้อทำงานลดลงจึงเกิด
การคลายตัว ทำให้ผิวหนังด้านบน
ของกล้ามเนื้อเรียบตึงได้
ประโยชน์ของสารโบทูลินัม
- ทำให้หน้าเรียวลง
- ลดริ้วรอยบนใบหน้า
เช่น รอยตีนกา รอยย่นบริเวณ
หน้าผากและระหว่างคิ้ว
- ยกกะชับผิวหนัง
- ลดน่องให้ขาเรียว
- รักษาอาการปวดศีรษะ
ปวดเกร็งต้นคอ
- ลดเหงื่อนบริเวณ
รักแร้ ฝ่ามือ
การฉีดสารโบทูลินัม
ไม่มีอันตรายถึงแก่ชีวิต
แต่อาจมีผลข้างเคียงได้
ควรเลือกสารโบทูลินัมของแท้
และควรรับการฉีด
โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น
ผลของการฉีด
อยู่ได้ประมาณ 3-8 เดือน
ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย
ที่มา : ศ.ดร.นพ.ประวิตร อัศวานนท์
แหล่งที่มา : Line chulahospital
หรือที่มักเรียกกันว่า "โบท็อกซ์"
เป็นโปรตีนชนิดหนึ่ง
ที่สร้างจากแบคทีเรีย
ชื่อ คลอสตริเดียม โบทูลินัม
(Clostridium botulinum)
ออกฤทธิ์ยับยั้งการนำกระแสประสาท
ที่ส่งมายังกล้ามเนื้อบริเวณนั้น
กล้ามเนื้อทำงานลดลงจึงเกิด
การคลายตัว ทำให้ผิวหนังด้านบน
ของกล้ามเนื้อเรียบตึงได้
ประโยชน์ของสารโบทูลินัม
- ทำให้หน้าเรียวลง
- ลดริ้วรอยบนใบหน้า
เช่น รอยตีนกา รอยย่นบริเวณ
หน้าผากและระหว่างคิ้ว
- ยกกะชับผิวหนัง
- ลดน่องให้ขาเรียว
- รักษาอาการปวดศีรษะ
ปวดเกร็งต้นคอ
- ลดเหงื่อนบริเวณ
รักแร้ ฝ่ามือ
การฉีดสารโบทูลินัม
ไม่มีอันตรายถึงแก่ชีวิต
แต่อาจมีผลข้างเคียงได้
ควรเลือกสารโบทูลินัมของแท้
และควรรับการฉีด
โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น
ผลของการฉีด
อยู่ได้ประมาณ 3-8 เดือน
ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย
ที่มา : ศ.ดร.นพ.ประวิตร อัศวานนท์
แหล่งที่มา : Line chulahospital
วันศุกร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2561
ดูแลจิตใจ ปรับใหม่ วัยทำงาน
สัญญาณบ่งบอกโรคเครียด
- หงุดหงิดเรื่องงานหรือคนรอบตัว
- รู้สึกหมดไฟในการทำงาน
- นอนไม่หลับ ไม่อยากตื่นไปทำงาน
- กังวลเรื่องงานตลอดเวลา
- ไม่สบาย ลางานบ่อย
ดูแลจิตใจ ปรับใหม่ดังนี้
รู้เท่าทัน
อารมณ์ ความคาดหวัง
และความคิดของตนเอง
ต่อสิ่งต่างๆ
ยอมรับ
ความผิดหรือสิ่งที่ต้องแก้ไข
นำไปพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น
เข้าใจ
ผู้ร่วมงานระดับต่างๆ
ยอมรับข้อจำกัด
ของแต่ละบุคคล
จัดการ
รู้จักแบ่งงาน
แก้ปัญหามากกว่า
ตำหนิตัวบุคคล
แบ่งเวลา
เรื่องงาน การพักผ่อน
กิจกรรมที่สนใจ
ให้เวลาครอบครัวและเพื่อน
ที่มา : ผศ.นพ.คมสันต์ เกียรติรุ่งฤทธิ์ ภาควิชาจิตเวชศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
แหล่งที่มา : Line Ramathibodi
- หงุดหงิดเรื่องงานหรือคนรอบตัว
- รู้สึกหมดไฟในการทำงาน
- นอนไม่หลับ ไม่อยากตื่นไปทำงาน
- กังวลเรื่องงานตลอดเวลา
- ไม่สบาย ลางานบ่อย
ดูแลจิตใจ ปรับใหม่ดังนี้
รู้เท่าทัน
อารมณ์ ความคาดหวัง
และความคิดของตนเอง
ต่อสิ่งต่างๆ
ยอมรับ
ความผิดหรือสิ่งที่ต้องแก้ไข
นำไปพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น
เข้าใจ
ผู้ร่วมงานระดับต่างๆ
ยอมรับข้อจำกัด
ของแต่ละบุคคล
จัดการ
รู้จักแบ่งงาน
แก้ปัญหามากกว่า
ตำหนิตัวบุคคล
แบ่งเวลา
เรื่องงาน การพักผ่อน
กิจกรรมที่สนใจ
ให้เวลาครอบครัวและเพื่อน
ที่มา : ผศ.นพ.คมสันต์ เกียรติรุ่งฤทธิ์ ภาควิชาจิตเวชศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
แหล่งที่มา : Line Ramathibodi
วันจันทร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2561
5 โรควิตกกังวล ภัยเงียบที่ไม่ควรมองข้าม
ใครกำลังรู้สึกเครียด
ไม่สบายใจ
หรือ กลัวเกินเหตุ
มาเช็คให้ชัวร์
คุณอาจเสี่ยงเป็น
โรควิตกกังวลได้!
ต้องบอกว่าในชีวิตประจำวัน
เราทุกคนจะมีความกังวลอยู่แล้ว
แต่ถ้ามีมากเกินไปจนเริ่มรู้สึกว่า
รบกวนการใช้ชีวิตประจำวัน
อาจจะเข้าข่ายเป็นโรควิตกกังวลได้
ฉะนั้นแล้วลองสังเกตตัวเองดู
จากอาการที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็น
เหงื่อตก ใจสั่น หรือ
เป็นคนชอบย้ำคิดย้ำทำ
เพราะหากคุณมีอาการเหล่านี้
ลองมาเช็กให้ชัวร์ว่า
คุณกำลังเข่าข่ายเสี่ยงเป็น
โรควิตกกังวลหรือเปล่า?
ซึ่งกลุ่มโรควิตกกังวลที่พบบ่อย
และอย่ามองข้ามมีดังนี้
1.กังวลทั่วไป หรือโรคคิดมาก
(Generalized Anxiety Disorder : GAD)
ลักษณะอาการคือ
คิดมากไปแทบทุกเรื่อง
แม้พยายามจะห้ามไม่ให้คิด
ก็ทำไม่ได้ และมีอาการอ่อนเพลีย
ไม่มีสมาธิ นอนไม่หลับ อย่างน้อย 6 เดือน
2.กลัว (Phobias)
มีความกลัวอย่างมากต่อสิ่งๆ หนึ่ง
แม้ความกลัวนั้นจะไม่มีเหตุผล
เช่น กลัวที่แคบ กลัวลิฟท์
กลัวการขึ้นเครื่องบิน เป็นต้น
3.ตื่นตระหนก (Panic Disorder)
มีอาการตื่นตระหนก ตกใจ ใจสั่น
หัวใจเต้นเร็ว แน่นหน้าอก มึนงง
เหงื่อออก หายใจไม่อิ่ม และ
มีความกังวลว่าอาการเหล่านี้จะกลับมาอีก
4.กลัวสังคม (Social Anxiety Disorder)
หลายคนมีอาการกลัวอย่างมากในการเข้าสังคม
พูดในที่ประชุม คุยกับกลุ่มคนแปลกหน้า
จะเริ่มมีอาการเครียด วิตกทันที
เมื่อมีกิจกรรมทางสังคม และจะพยายามหลีกเลี่ยง
5.กลัวการแยกจาก (Separation Anxiety Disorder)
เป็นความวิตกกังวลที่เกินควร
เกี่ยวกับการแยกจากบุคคลหรือสถานที่
ความวิตกกังวลเช่นนี้เป็นเรื่องปกติ
ในพัฒนาการของทารกหรือเด็ก
เมื่อความรู้สึกนี้เกิดเกินควร
จึงจะจัดว่าเป็นโรค
โรคเกิดนี้เกิดกับผู้ใหญ่ประมาณ 7%
และเด็ก 4% แต่ว่ากรณีเด็กมักจะรุนแรงกว่า
ยกตัวอย่างเช่น
การจากกันอย่างสั้นๆ
ทำให้เกิดความตื่นตระหนกได้
อาจดูเหมือนโรคนี้น่ากลัว
แต่คุณป้องกันได้
ง่ายๆ แค่ใช้ชีวิตอย่างมีสุข
กินอาหารให้ครบ 5 หมู่
ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
พักผ่อนให้เพียงพอกับที่ร่างกายต้องการ
หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์
ทำกิจกรรมที่ผ่อนคลาย
นอกจากนี้ควรฝึกสติ
เพื่อรู้ทันอารมณ์ของตัวเอง
ว่าความเครียดว่ามีมากเกินไปหรือไม่
รวมถึงการทำสมาธิเพื่อให้จิตใจสงบ
อยู่กับปัจจุบันและให้สมองได้ผ่อนคลาย
รับรองสุขภาพดีทั้งกายใจห่างไกลโรคอย่างแน่นอน
ขอบคุณข้อมูลจาก : SOOK Magazine เล่ม 68 บทความ 5 โรควิตกกังวลที่ไม่ควรมองข้าม
แหล่งที่มา : จาก SOOK By สสส.
ไม่สบายใจ
หรือ กลัวเกินเหตุ
มาเช็คให้ชัวร์
คุณอาจเสี่ยงเป็น
โรควิตกกังวลได้!
ต้องบอกว่าในชีวิตประจำวัน
เราทุกคนจะมีความกังวลอยู่แล้ว
แต่ถ้ามีมากเกินไปจนเริ่มรู้สึกว่า
รบกวนการใช้ชีวิตประจำวัน
อาจจะเข้าข่ายเป็นโรควิตกกังวลได้
ฉะนั้นแล้วลองสังเกตตัวเองดู
จากอาการที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็น
เหงื่อตก ใจสั่น หรือ
เป็นคนชอบย้ำคิดย้ำทำ
เพราะหากคุณมีอาการเหล่านี้
ลองมาเช็กให้ชัวร์ว่า
คุณกำลังเข่าข่ายเสี่ยงเป็น
โรควิตกกังวลหรือเปล่า?
ซึ่งกลุ่มโรควิตกกังวลที่พบบ่อย
และอย่ามองข้ามมีดังนี้
1.กังวลทั่วไป หรือโรคคิดมาก
(Generalized Anxiety Disorder : GAD)
ลักษณะอาการคือ
คิดมากไปแทบทุกเรื่อง
แม้พยายามจะห้ามไม่ให้คิด
ก็ทำไม่ได้ และมีอาการอ่อนเพลีย
ไม่มีสมาธิ นอนไม่หลับ อย่างน้อย 6 เดือน
2.กลัว (Phobias)
มีความกลัวอย่างมากต่อสิ่งๆ หนึ่ง
แม้ความกลัวนั้นจะไม่มีเหตุผล
เช่น กลัวที่แคบ กลัวลิฟท์
กลัวการขึ้นเครื่องบิน เป็นต้น
3.ตื่นตระหนก (Panic Disorder)
มีอาการตื่นตระหนก ตกใจ ใจสั่น
หัวใจเต้นเร็ว แน่นหน้าอก มึนงง
เหงื่อออก หายใจไม่อิ่ม และ
มีความกังวลว่าอาการเหล่านี้จะกลับมาอีก
4.กลัวสังคม (Social Anxiety Disorder)
หลายคนมีอาการกลัวอย่างมากในการเข้าสังคม
พูดในที่ประชุม คุยกับกลุ่มคนแปลกหน้า
จะเริ่มมีอาการเครียด วิตกทันที
เมื่อมีกิจกรรมทางสังคม และจะพยายามหลีกเลี่ยง
5.กลัวการแยกจาก (Separation Anxiety Disorder)
เป็นความวิตกกังวลที่เกินควร
เกี่ยวกับการแยกจากบุคคลหรือสถานที่
ความวิตกกังวลเช่นนี้เป็นเรื่องปกติ
ในพัฒนาการของทารกหรือเด็ก
เมื่อความรู้สึกนี้เกิดเกินควร
จึงจะจัดว่าเป็นโรค
โรคเกิดนี้เกิดกับผู้ใหญ่ประมาณ 7%
และเด็ก 4% แต่ว่ากรณีเด็กมักจะรุนแรงกว่า
ยกตัวอย่างเช่น
การจากกันอย่างสั้นๆ
ทำให้เกิดความตื่นตระหนกได้
อาจดูเหมือนโรคนี้น่ากลัว
แต่คุณป้องกันได้
ง่ายๆ แค่ใช้ชีวิตอย่างมีสุข
กินอาหารให้ครบ 5 หมู่
ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
พักผ่อนให้เพียงพอกับที่ร่างกายต้องการ
หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์
ทำกิจกรรมที่ผ่อนคลาย
นอกจากนี้ควรฝึกสติ
เพื่อรู้ทันอารมณ์ของตัวเอง
ว่าความเครียดว่ามีมากเกินไปหรือไม่
รวมถึงการทำสมาธิเพื่อให้จิตใจสงบ
อยู่กับปัจจุบันและให้สมองได้ผ่อนคลาย
รับรองสุขภาพดีทั้งกายใจห่างไกลโรคอย่างแน่นอน
ขอบคุณข้อมูลจาก : SOOK Magazine เล่ม 68 บทความ 5 โรควิตกกังวลที่ไม่ควรมองข้าม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
ตอน 37 ลาก่อนทองแดง
ตอน 36 อ่านตอนสามสิบหก เรื่อง "ลาก่อนพ่อสิงโต...พ่อหมาใจดี...." ได้ที่นี่ ทองแดงเริ่มไม่ทานข้าวช่วงปลายเดือนมิถุนายน 2566 ช่วงนั...
-
ใครที่นึกเบื่อตลาดติดแอร์ แต่ชื่นชอบตลาดเปิดท้ายรวมถึงของขายแบกกะดินราคาถูก หรือร้านขายตามล็อกหลากหลายแนว มาทอดน่องช็อปให้เพลินที่ "ต...
-
การจ่ายเงินรายได้ไม่ครบถ้วน ว่าจริงๆ แล้วเงินที่ทางผู้จ้างได้จ่ายให้ผู้รับจ้างไม่ครบนั้น เพราะว่าทางผู้จ้างได้หักภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ซ...