โจทย์ง่าย ๆ แค่นี้... แต่คิดให้ดีก่อนตอบ
ก . 7 บาท
ข . 2 บาท
ค . 1 บาท
ง . ไม่ต้องทอน (ขอเหตุผลด้วยนะถ้าตอบข้อนี้)
เมื่อได้คำตอบแล้ว...
ไปดูกันว่าคำตอบข้อไหนตรงกับคำตอบในใจคุณ
ครูคนหนึ่งตั้งคำถามกับเด็กว่า...
ถ้ามีเงินอยู่ 10 บาท ซื้อของ 3 บาท จะได้รับเงินทอนเท่าไร?
เด็กส่วนใหญ่ตอบว่า 7 บาท
แต่มีเด็ก 2 คนที่ตอบไม่เหมือนกับคนอื่น...
คนหนึ่งตอบว่า 2 บาท
อีกคนหนึ่งตอบว่า... ไม่ต้องทอน
ครูถามเด็กคนแรกว่าทำไมถึงได้เงินทอน 2 บาท
คำตอบที่ได้ก็คือภาพในใจของเขาสำหรับเงิน 10 บาท
คือ เหรียญห้า 2 เหรียญ เมื่อซื้อของราคา 3 บาท
เขาก็ให้เหรียญห้า 1 เหรียญ ดังนั้น จึงได้เงินทอน 2 บาท
ครูถามเด็กคนที่สองว่าทำไมไม่เหลือเงินทอนเลย
คำตอบก็คือเด็กคนนี้คิดว่าในกระเป๋ามีเหรียญบาท 10 เหรียญ
เมื่อซื้อของราคา 3 บาท เขาก็ส่งเหรียญบาทให้ 3 เหรียญ
เพราะฉะนั้น คนขายจึงไม่ต้องทอนเงินให้เขา...
โชคดีที่เป็นการถาม - ตอบในห้องเรียน
ลองนึกดูสิครับว่าถ้าโจทย์นี้เป็นข้อสอบที่มีคำตอบ
เป็น ก - ข - ค - ง เด็ก 2 คนนี้ก็คงไม่ได้คะแนน
จากคำตอบที่ผิดเพี้ยนจากคนส่วนใหญ่...
การสร้างโจทย์ที่ ' เสมือนจริง ' จินตนาการของ ' ครู '
อาจถูกจำกัดเพียงแค่ ' ตัวเลข ' แต่สำหรับเด็ก
จินตนาการของเขาไร้กรอบ 10 บาท
จึงสามารถเปลี่ยนเป็นเหรียญสิบ เหรียญห้า หรือเหรียญบาท
เมืองไทยมีเหรียญ 2 บาท เราจึงได้คำตอบ
เพิ่มอีก 1 คำตอบ คือ ได้เงินทอน 1 บาทด้วย
โลกในห้องเรียนกับโลกของความเป็นจริงนั้นแตกต่างกัน
โลกในห้องเรียน ทุกคำถามส่วนใหญ่มีเพียง 1 คำตอบ
แต่โลกของความเป็นจริง...
ทุกคำถามอาจมีคำตอบที่ถูกต้องได้เกิน 1 คำตอบ
อย่าตัดสินความผิดของคนๆนั้น
เพียงแค่คำตอบของเรา ^^
หากคิดว่าโพสต์นี้มีประโยชน์
กรุณาเเบ่งปันให้สักคมรับรู้
สมุดปกขาว
ขอบคุณข้อมูลจาก True Careers
#DemocratTH #พรรคประชาธิปัตย์ถ้ามีเงินอยู่ 10 บาท ซื้อของ 3 บาท
จะได้รับเงินทอนเท่าไร?
โจทย์ง่าย ๆ แค่นี้... แต่คิดให้ดีก่อนตอบ
ก . 7 บาท
ข . 2 บาท
ค . 1 บาท
ง . ไม่ต้องทอน (ขอเหตุผลด้วยนะถ้าตอบข้อนี้)
เมื่อได้คำตอบแล้ว...
ไปดูกันว่าคำตอบข้อไหนตรงกับคำตอบในใจคุณ
ครูคนหนึ่งตั้งคำถามกับเด็กว่า...
ถ้ามีเงินอยู่ 10 บาท ซื้อของ 3 บาท จะได้รับเงินทอนเท่าไร?
เด็กส่วนใหญ่ตอบว่า 7 บาท
แต่มีเด็ก 2 คนที่ตอบไม่เหมือนกับคนอื่น...
คนหนึ่งตอบว่า 2 บาท
อีกคนหนึ่งตอบว่า... ไม่ต้องทอน
ครูถามเด็กคนแรกว่าทำไมถึงได้เงินทอน 2 บาท
คำตอบที่ได้ก็คือภาพในใจของเขาสำหรับเงิน 10 บาท
คือ เหรียญห้า 2 เหรียญ เมื่อซื้อของราคา 3 บาท
เขาก็ให้เหรียญห้า 1 เหรียญ ดังนั้น จึงได้เงินทอน 2 บาท
ครูถามเด็กคนที่สองว่าทำไมไม่เหลือเงินทอนเลย
คำตอบก็คือเด็กคนนี้คิดว่าในกระเป๋ามีเหรียญบาท 10 เหรียญ
เมื่อซื้อของราคา 3 บาท เขาก็ส่งเหรียญบาทให้ 3 เหรียญ
เพราะฉะนั้น คนขายจึงไม่ต้องทอนเงินให้เขา...
โชคดีที่เป็นการถาม - ตอบในห้องเรียน
ลองนึกดูสิครับว่าถ้าโจทย์นี้เป็นข้อสอบที่มีคำตอบ
เป็น ก - ข - ค - ง เด็ก 2 คนนี้ก็คงไม่ได้คะแนน
จากคำตอบที่ผิดเพี้ยนจากคนส่วนใหญ่...
การสร้างโจทย์ที่ ' เสมือนจริง ' จินตนาการของ ' ครู '
อาจถูกจำกัดเพียงแค่ ' ตัวเลข ' แต่สำหรับเด็ก
จินตนาการของเขาไร้กรอบ 10 บาท
จึงสามารถเปลี่ยนเป็นเหรียญสิบ เหรียญห้า หรือเหรียญบาท
เมืองไทยมีเหรียญ 2 บาท เราจึงได้คำตอบ
เพิ่มอีก 1 คำตอบ คือ ได้เงินทอน 1 บาทด้วย
โลกในห้องเรียนกับโลกของความเป็นจริงนั้นแตกต่างกัน
โลกในห้องเรียน ทุกคำถามส่วนใหญ่มีเพียง 1 คำตอบ
แต่โลกของความเป็นจริง...
ทุกคำถามอาจมีคำตอบที่ถูกต้องได้เกิน 1 คำตอบ
อย่าตัดสินความผิดของคนๆนั้น
เพียงแค่คำตอบของเรา ^^
หากคิดว่าโพสต์นี้มีประโยชน์
กรุณาเเบ่งปันให้สักคมรับรู้
สมุดปกขาว
ขอบคุณข้อมูลจาก True Careers
#DemocratTH #พรรคประชาธิปัตย์
แหล่งที่มา Facebook : หุ้นปันผล
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ตอน 37 ลาก่อนทองแดง
ตอน 36 อ่านตอนสามสิบหก เรื่อง "ลาก่อนพ่อสิงโต...พ่อหมาใจดี...." ได้ที่นี่ ทองแดงเริ่มไม่ทานข้าวช่วงปลายเดือนมิถุนายน 2566 ช่วงนั...
-
ใครที่นึกเบื่อตลาดติดแอร์ แต่ชื่นชอบตลาดเปิดท้ายรวมถึงของขายแบกกะดินราคาถูก หรือร้านขายตามล็อกหลากหลายแนว มาทอดน่องช็อปให้เพลินที่ "ต...
-
การจ่ายเงินรายได้ไม่ครบถ้วน ว่าจริงๆ แล้วเงินที่ทางผู้จ้างได้จ่ายให้ผู้รับจ้างไม่ครบนั้น เพราะว่าทางผู้จ้างได้หักภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ซ...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น