วันพุธที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2561

แมลงก้นกระดก

แมลงก้นกระดก
พบได้บ่อยในฤดูฝน

แมลงก้อนกระดก (Rove beetles) 
หรือด้วนก้นกระดก
เป็นแมลงเล่นไฟขนาดเล็ก
ลำตัวมีสีดำสลับส้มเป็นปล้องๆ

อาการ
- รู้สึกปวดแสบปวดร้อน
พบรอยไหม้เป็นแนวยาวไม่กระจุก

- มีตุ่มน้ำเป็นผื่นคล้ายเริมหรืองูสวัด
- มักพบรอยบริเวณอกเสื้อผ้า
- ในบางคนที่แพ้พิษอาจมี
อาการรุนแรง เช่น พุพอง
คลื่นไส้อาเจียน หรือเริ่มมีไข้
แต่ไม่เป็นอันตรายถึงชีวิต

การรักษา
- ให้รีบล้างด้วยสบู่และน้ำสะอาด
หรือใช้น้ำเกลือสำหรับล้างแผลล้างทันที

- หากเกิดตุ่มน้ำและรอยแดงขึ้นแล้ว
สามารถทายาเพื่อรักษารอยแดง
ซึ่งจะหายไปเองประมาณ 2-3 วัน

- รอยดำที่เกิดขึ้นค่อยๆ จาง
และหายไปเองไม่เป็นแผลเป็น

- หากมีอาการรุนแรงเนื่องจาก
แพ้พิษให้รีบพบแพทย์

วิธีป้องกัน
- หากพบแมลงก้นห้ามสัมผัส
โดยการปัดหรือบดขยี้
ควรใช้วิธีเป่าหรือสะบัดออก

- ปิดหน้าต่างและประตูให้สนิท
- ตรวจเช็คบริเวณที่นอนเสมอ
ว่าไม่มีแมลงอยู่

ที่มา  :  ศ.ดร.นพ.ประวิตร  อัศวานนท์

แหล่งที่มา : Line chulahospital

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ตอน 37 ลาก่อนทองแดง

ตอน 36   อ่านตอนสามสิบหก เรื่อง "ลาก่อนพ่อสิงโต...พ่อหมาใจดี...." ได้ที่นี่ ทองแดงเริ่มไม่ทานข้าวช่วงปลายเดือนมิถุนายน 2566 ช่วงนั...