ทั้งนี้การจัดอันดับดังกล่าวมีการพิจารณาให้คะแนนจากหลายด้าน ทั้งทรัพยากรซึ่งก็คือเงินลงทุนโดยรัฐบาลและภาคเอกชน ,การวิจัยการศึกษา เพื่อการผลิตแรงงานที่ตรงกับความต้องการของตลาด ,เครือข่ายระหว่างประเทศ ,นโยบายรัฐบาล ,สิ่งแวดล้อมและบรรยากาศในการเรียนการสอน เป็นต้น
โดยประเทศที่มีคะแนนอันดับ 1 คือ สหรัฐฯ ได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ส่วนในภูมิภาคเอเชีย อันดับ 1 คือ สิงคโปร์ ซึ่งอยู่อันดับที่ 11 ของตาราง ได้คะแนน 74.5 คะแนน ส่วนไทยติดอันดับในครั้งนี้ด้วย ได้คะแนน 46.6 คะแนน อยู่ในอันดับ 41
อันดับ
ประเทศที่มีการคุณภาพการศึกษาขั้นสูงดีเยี่ยม 48 ปรเทศ มีดังนี้
- สหรัฐอเมริกา 100.0
- สวีเดน 83.6
- แคนาดา 82.8
- ฟินแลนด์ 82.0
- เดนมาร์ก 81.0
- สวิตเซอร์แลนด์ 80.3
- นอร์เวย์ 78.0
- ออสเตรเลีย 77.8
- เนเธอร์แลนด์ 77.4
- สหราชอาณาจักร 76.8
- สิงคโปร์ 75.4
- ออสเตรเลีย 73.8
- เบลเยียม 73.7
- นิวซีแลนด์ 72.5
- ฝรั่งเศส 70.6
- ไอร์แลนด์ 69.5
- เยอรมนี 69.4
- ฮ่องกง 68.9
- อิสราเอล 67.4
- ญี่ปุ่น 66.1
- ไต้หวัน 62.0
- เกาหลีใต้ 60.2
- โปรตุเกส 60.1
- สเปน 59.9
- ยูเครน 58.6
- สาธารณรัฐเช็ก 57.9
- โปแลนด์ 56.2
- สโลวีเนีย 55.8
- กรีซ 54.7
- อิตาลี 54.0
- บัลแกเรีย 52.5
- รัสเซีย 52.4
- โรมาเนีย 51.3
- ฮังการี 50.8
- สโลวะเกีย 50.6
- มาเลเซีย 50.5
- ชิลี 48.9
- อาร์เจนตินา 48.6
- จีน 48.3
- บราซิล 47.2
- ไทย 46.6
- อิหร่าน 45.8
- เม็กซิโก 45.3
- โครเอเชีย 44.9
- ตุรกี 44.4
- แอฟริกาใต้ 43.4
- อินโดนีเซีย 37.5
- อินเดีย 34.4
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น